ฉันมีปัญหาเกลียวล้ม, เกลียวแตก กรณีต๊าปด้วยเครื่องจักร CNC กับต๊า SP-PT

(ต๊าปเกลียวเลื้อยสำหรับเกลียวท่อเตเปอร์) ช่วยแนะนำวิธีแก้ปัญหาด้วยค่ะ

ปัญหาเศษติด เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกลียวล้ม เกลียวแตกได้

เราสามารถลดการเกิดปัญหานี้ได้โดย

การเปลี่ยนต๊าปที่ใช้จาก SP-PT เป็น SP-S-PT

ตัวอย่าง : ก่อนและหลังการปรับปรุง

[ก่อนการปรับปรุง]

ต๊าป : SP-PT 1/4 (ประเภทเกลียวยาว)

วัสดุชิ้นงาน : SS400

เครื่องจักร : CNC

การป้อน : Fully Synchronous

หัวจับ : หัวจับต๊าป

สารหล่อลื่น : น้ำหล่อเย็น


ลักษณะของเกลียวที่ล้ม
หลังจากที่ต๊าปด้วย SP-PT 1/4

ใช้ SP-S-PT 1/4 เพื่อแก้ปัญหาเกลียวล้ม, เกลียวแตกได้

(ควรตรวจสอบระยะการสวมของตัวท่อเกลียวนอกด้วย)


เราจะตรวจสอบระยะการสวมของตัวท่อเกลียวนอก ได้ตามคำแนะนำด้านล่าง

ฉันสามารถแก้ปัญหาเกลียวล้มโดยใช้

ต๊าป SP-S-PT

[หลังการปรับปรุง]

ต๊าป : SP-S-PT 1/4 (ประเภทเกลียวสั้น)

วัสดุชิ้นงาน : SS400

เครื่องจักร : CNC

การป้อน : Fully Synchronous

หัวจับ : หัวจับต๊าป

สารหล่อลื่น : น้ำหล่อเย็น

ความเร็วตัด : 3 เมตร/นาที (การหมุน : 159RPM)


ลักษณะของเกลียวที่ดี
หลังจากที่ต๊าปด้วย

ต๊าป SP-PT 1/4

กับ

ต๊าป SP-S-PT 1/4

ต่างกันที่ความยาว

เมื่อวัดความยาวจาก A-B

ตำแหน่งของเส้นผ่าศูนย์กลางพิตช์

หรือมีความหมายว่า

คุณสามารถทำเกลียว PT1/4-19 ด้วยต๊าป SP-PT 1/4-19

ด้วยความยาวทั้งหมด 21 มิลลิเมตร จากพื้นชิ้นงานได้


คุณสามารถทำเกลียว PT1/4-19 ด้วยต๊าป SP-S-PT 1/4-19

ด้วยความยาวทั้งหมด 12.5 มิลลิเมตร จากพื้นชิ้นงานได้


ในกรณีเศษติด เป็นปัญหาที่ทำให้เกิดเกลียวล้ม เกลียวแตก ดังนั้นการต๊าปด้วย SP-S-PT จะให้เศษที่น้อยกว่า

และคายเศษได้ดีกว่าต๊าป SP-PT การแก้ปัญหาเศษติดด้วย SP-S-PT จะลดลงอย่างมาก

เกลียว PT 1/4-19 ระยะในการประกอบจะอยู่ที่ 4.67-7.35 มิลลิเมตร ถ้าใช้ SP-S-PT 1/4-19 จะผ่านมาตรฐาน

ข้อต่อแรงดันสูงสำหรับ JIS B0203, ISO7/1 หรือ DIN2999